หน้าแรก
โรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สารบัญ
   
วิธีการและความสำคัญทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์
หลักฐานประวัติศาสตร์
ประเภทหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ช่วงเวลา ศักราช
การแบ่งยุคประวัติศาสตร์

การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์แบบไทย
ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย
ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐานหรือการวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์นำเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลำเอียง
สรุป

สรุปวิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์กับการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์


  ขั้นตอนของวิธีการทางปประวัติศาสตร์
1. การกำหนดประเด็นปัญหา
          เป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาเรื่องราวในอดีตที่น่าสนใจ เพื่อเป็นแนวทางที่จะนำไปสู่การค้นคว้าและสืบค้นข้อมูลต่างๆ
2. การรวบรวมหลักฐาน
          เป็นการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่มีอยู่อย่างหลากหลายและแตกต่างกัน เพื่อให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวที่ต้องการศึกษาค้นคว้า
3. การวิเคราะห์ การตีความและการประเมินหลักฐาน
          เป็นการตรวจสอบหลักฐาน โดยเน้นวิเคราะห์และตีความเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงที่น่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับมากที่สุด
4. การสรุปและเชื่อมโยงข้อเท็จจริง
เป็นการประมวลข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง           เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนและได้ข้อเท็จจริงที่สมบูรณ์
5. การนำเสนิข้อเท็จจริง
นำเสนอข้อเท็จจริงที่ได้จากการศึกษามาเรียบเรียงและอธิบายอย่างสมเหตุสมผล           โดยจะต้องบอกที่มาของหลักฐานหรือแหล่งข้อมูลอย่างถูกต้องและเปิดเผย เพื่อให้สามารถตรวจสอบได้
          สมัยรัตนโกสินทร์เป็นสมัยที่มีเหตุการณ์ต่อเนื่องมาจากอดีตมาถึงปัจจุบันเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยก่อนหน้านี้ ย่อมส่งผลกระทบมาจนถึงปัจจุบัน การศึกษาเหตุการณ์สำคัญ สามารถศึกษาจากหลักฐานที่เป็นเอกสารต่างๆ จำนวนมากเพื่อให้เข้าใจข้อมูลได้อย่างถูกต้องชัดเจน
Copyright By : Chalengsak Chuaorrawan Sainampeung School
186 Sukhumwit 22 Sukhumwit RD Khlongtoei Khlongtoei Bangkok Thailand
e-mail address : chalengsak.ch@hotmail.com
Tel; 089-200-7752 mobile
http://www.sainampeung.ac.th