หน้าแรก
โรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์
เกี่ยวกับผู้ทำ
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สารบัญ
ศาสนา จริยธรรม
หน้าที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ภูมิศาสตร์
แบบฝึกหัด
สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 6 มีพระนามเดิมว่า
เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ
เป็นโอรสของ
รัชกาลที่ 5
กับ
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ
ประสูติเมื่อ
1
เดือน
มกราคม
2423
ขึ้นครองราชย์เมื่อ
23
ตุลาคม 2453 เสด็จสวรรคตเมื่อ
25
เดือน
พฤศจิกายน
2468
รวมพระชนมายุ
45
พรรษา รวมระยะเวลาที่ครองราชย์นาน
16
ปี
ในสมัยรัชกาลที่ 6 ด้านการปกครองส่วนกลาง โปรดให้ตั้งกระทรวง
ทหารเรือ
และ
กระทรวงมุรธาธร
ให้เปลี่ยนชื่อกระทรวงโยธาธิการ เป็น
คมนาคม
และให้รวมกระทรวงนครบาลเข้ากับกระทรวง
มหาดไทย
ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีการปรับปรุงระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค โดยให้รวมมณฑลที่อยู่ติดกันเป็นภาค
แต่ละภาคให้มี
อุปราช
มีอำนาจเหนือสมุหเทศาภิบาลและเปลียนชื่อเมืองเป็น
จังหวัด
กบฏ ร.ศ. 130 ( พ.ศ. 2454 ) ประกอบด้วย
ทหารเรือ ทหารบก พลเรือน
หัวหน้ากบฏ ร.ศ. 130 คือ
ร้อยเอกขุนทวยหาญพิทักษ์ ( นายแพทย์เหล็ง ศรีจันทร์ )
กบฏ ร.ศ. 130 ทำงานไม่สำเร็จเพราะ
ร้อยเอกสินาดโยธารักษ์ ( ยุทธ หรือ แต้ม คงอยู่ ) สมาชิกของ
คณะกบฏ ร.ศ. 130 นำข่าวการปฏิวัติมาบอกรัฐบาล
รัชกาลที่ 6 ทรงจัดตั้ง ดุสิตธานี ขึ้นเพื่อ
.
ทดลองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ดุสิตธานี หรือ นครจำลอง ปัจจุบันเป็นสถานที่ตั้งของ
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ในดุสิตธานีมีหนังสือพิมพ์อยู่ 3 ฉบับคือ
9.1 ดุสิตสมิท
9.2 ดุสิตสมัย
9.3 ดุสิตรีคอเดอร์
ผู้ที่ทำหน้าที่บริหารในดุสิตธานีมีชื่อเรียกว่า
คณะนคราภิบาล
พลเมืองในดุสิตธานีเรียกว่า
ทวยนาคร
สมาชิกในสภาเรียกว่า
เชษฐบุรุษ
รัฐธรรมนูญของดุสิตธานีมีชื่อเรียกว่า
ธรรมนูญลักษณะปกครองคณะนคราภิบาล พ.ศ. 2461
เงินศึกษาพลี เก็บจาก
ชายทุกคนที่มีอายุระหว่าง 18 - 60 ปี ยกเว้นผู้ที่ทำมาหากินไม่ได้ พระภิกษุ
สามเณร บาทหลวง ทหาร ตำรวจ ฯลฯ
มหาวิทยาลัยแห่งแรกที่รัชกาลที่ 6 ทรงจัดตั้งคือ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ซึ่งแต่เดิมเป็น
โรงเรียน
ข้าราชการพลเรือน
หรือโรงเรียน
มหาดเล็กหลวง
ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีการนับศักราชโดยใช้
พุทธศักราช
แทนรัตนโกสินทร์ศก
ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระบิดาแห่งชาตินิยมคือ
รัชกาลที่ 6
พระบิดาแห่งการสหกรณ์คือ
พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
สหกรณ์แห่งแรกคือ
สหกรณ์วัดจันทร์ไม่จำกัดสินใช้
ในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้รวมกรมรถไฟสายเหนือและกรมรถไฟสายใต้เข้าด้วยกันแล้วเรียกว่า
กรมรถไฟหลวง
เมื่อ 5 มิถุนายน 2460 แล้วโปรดให้
พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน
เป็นผู้บังคับบัญชา
สถานีวิทยุโทรเลขได้เริ่มเปิดสถานีครั้งแรกที่ตำบล
ศาลาแดง
จังหวัด
กรุงเทพมหานคร
และในส่วนภูมิภาคได้ทดลองกระจายเสียงที่จังหวัด
สงขลา
พระพุทธรูปที่รัชกาลที่ 6 โปรดให้บูรณะจากของเดิมที่สร้างไว้ตั้งแต่สมัยสุโขทัย แล้วนำมาประดิษฐาน
ณ ซุ้มพระวิหารทิศพระปฐมเจดีย์คือ
พระร่วงโรจนฤทธิ์
โรงเรียนที่รัชกาลที่ 6 โปรดให้สร้างขึ้น โดยจัดระเบียบแบบโรงเรียนประจำในประเทศอังกฤษ และ
พระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์คือ
โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ
โรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ที่รัชกาลที่ 6 ทรงโปรดให้สร้างขึ้น 4 แห่งคือ
21.1 โรงเรียนพรานหลวง
21.2 โรงเรียนมหาดเล็กหลวง
21.3 โรงเรียนราชวิทยาลัย
21.4 โรงเรียนมหาดเล็กหลวง เชียงใหม่
ต่อมาได้ถูกยุบรวมกิจการไว้ในกรุงเทพมหานคร
ในสมัยรัชกาลที่ 7 แล้วพระราชทานนามว่า
โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย
ตั้งแต่ พ.ศ. 2469 เป็นต้นมา
การตราพระราชบัญญัตินามสกุลมีขึ้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่
6
รัชกาลที่ 6 โปรดให้ตั้ง
วรรณคดีสโมสร
เพื่อส่งเสริมการประพันธ์ภาษาไทยและให้นักเรียนเขียนนามแฝง ของรัชกาลที่ 6 เมื่อทรงเขียนวรรณกรรมด้านต่าง ๆ ดังนี้
23.1 รามจิตติ
........................................... สำหรับบันเทิงคดีและสารคดีที่ทรงแปลจากภาษาต่างประเทศ
23.2 อัศวพาหุ
................................................................................ สำหรับเรื่องการเมืองและบทปลุกใจ
23.3 พันแหลม
........................................................................................ สำหรับเรื่องเกี่ยวกับทหารเรือ
23.4 น้อยลา สุครีพ
............................................................................................... สำหรับนิทานต่าง ๆ
23.5 ศรีอยุธยา นายแก
้วนายขวัญ พระขรรค์เพชร
........................................................
สำหรับบทละคร
กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ ( พระองค์รัชนีแจ่มจรัส ) ใช้นามปากกาว่า
น.ม.ส.
วรรณกรรมที่นิพนธ์ไว้
ที่สำคัญได้แก่
นิทานเวตาล พระนลคำฉันท์ จดหมายจางวางหร่ำ กนกนคร ลิลิตสามกรุง
ผู้ที่แต่งเพลงกราวกีฬาคือ
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ( สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา )
ใช้นามปากกาว่า
ครูเทพ
ซึ่งได้แต่งแบบเรียนเช่นตรรกวิทยา ตำราเลขคณิต พีชคณิตแบบสอนอ่านจริยธรรม
ผู้แต่งแบบเรียนชุดไวยากรณ์ไทย 4 เล่ม ได้แก่ อักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ และฉันทลักษณ์ คือ
ผู้ที่ใช้นามปากกาว่า
อ.น.ก.
ชื่อจริงคือ พระยาอุปกิตศิลปสาร ( นิ่ม กาญจนาชีวะ )
ผู้แต่งสามัคคีเภทคำฉันท์คือ
นายชิต บุรทัต
ผู้แต่งอิลราชคำฉันท์คือ
พระยาศรีสุนทรโวหาร ( ผัน สาลักษณ์ )
ในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้น เมื่อเดือน
สิงหาคม
พ.ศ.
2457
ถึง วันที่ 11 เดือน
พฤศจิกายน
พ.ศ.
2461
สงครามโลกครั้งที่ 1 แบ่งออกเป็น 2 ฝ่ายคือ
30.1 ฝ่ายมหาอำนาจกลาง
30.2 ฝ่ายสัมพันธมิตร
ฝ่ายมหาอำนาจกลาง มีสมาชิกประกอบด้วย
เยอรมัน ออสเตรียฮังการี
เป็นผู้นำ
ฝ่ายสัมพันธมิตร
มีสมาชิกประกอบด้วย
อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
เป็นผู้นำ
รัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับฝ่าย
ฝ่ายมหาอำนาจกลาง
ในสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อวันที่
22
เดือน
กรกฎาคม
พ.ศ.
2460
รัฐบาลไทยได้ส่งทหารอาสา เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 จำนวน 2 กองคือ
34.1 กองบินทหารบก
34.2 กองทหารบกรถยนต์
กองทหารอาสาของไทยทั้งหมดได้เดินทางไปสู่สมรภูมิ ในสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยทาง
เรือ
เมื่อ
วันที่
19
เดือน
มิถุนายน
พ.ศ.
2461
ไปถึงเมือง มาเซลส์ ประเทศ
ฝรั่งเศส
เมื่อ วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.
2461
ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ทหารอาสาของไทย เสียชีวิต 20 นาย เพื่อเป็นเกีรติแก่ทหารอาสาที่เข้าร่วมรบในครั้งนี้
รัฐบาลไทย จึงได้สร้างอนุสรณ์สถาน 2 อย่างคือ
36.1 วงเวียน 22 กรกฎา
36.2 อนุาวรีย์ทหารอาสา
หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 สงบลงแล้วรัฐบาลไทยได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมทำสัญญาสันติภาพ ณ พระราชวัง
แวร์ซายส์ จำนวน 3 ท่านคือ
37.1 พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤษฎา
อัครราชฑูตไทยประจำกรุงปารีส
37.2 พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ (กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย)
เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ
37.3 พระยาพิพัฒน์โกษา
อัครราชฑูตไทยประจำกรุงโรม
ชาวต่างชาติที่มีบทบาทในการช่วยเหลือไทย ในการแก้ไขสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง คือ
ดร. ฟรานซีส บี. แซรยร์
เป็นชาว
สหรัฐอเมริกา
ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น
พระยากัลยาณไมตรี
ในสมัยรัชกาลที่ 6 ไทยสามารถแก้ไขสนธิสัญญาได้เพียง 2 ชาติคือ
39.1 สหรัฐอเมริกา
39.2 ญี่ปุ่น
สนธิสัญญาที่ไทยสมารถแก้ไขได้แล้ว ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีกำหนดระยะเวลา
10
ปี
ธงชาติในสมัยรัชกาลที่ 6 เรียกว่า
ธงไตรรงค์
มีลักษณะดังนี้คือ
มีสีแดงอยู่แถบนอกสุด 2 แถบ ต่อมาเป็นแถบสีขาว 2 แถบและมีแถบสีน้ำเงินแถบใหญ่ อยู่ตรงกลาง
ธงชาติในสมัยรัชกาลที่ 6 มี 3 สี ดังนี้
39.1 สีแดง หมายถึง
ชาติ
39.2 สีขาว หมายถึง
ศาสนา
39.3 สีน้ำเงินหมายถึง
พระมหากษัตริย์
รัชกาลที่ 6 ได้ให้ เจ้าฟ้าจักรพงศ์ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานรถ หาแก้วมรกตก่อนใหญ่
จากประเทศ
รัสเซีย
เพื่อมาแกะสลักพระพุทธรูปที่สำคัญคือ
พระแก้วมรกตน้อย
ปฏิมากรรมแบบไทย ซึ่ งสร้างตามแบบอุดมคติของไทยเดิม ในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้สร้างเมื่อ พ.ศ. 2460 ด้วย
ทองสัมฤทธ์ ประดิษฐานอยู่ ในซุ้ม มุมสนามด้านตะวันออกตรงข้ามกับสนามหลวงคือ
นางธรณีบีบผมมวย
สถาปัตยกรรมแบบตะวันตก ที่รัชกาลที่ 6 โปรดให้สร้างคือ
พระราชวังพญาไท
ซึ่งเป็นที่ทำการของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในปัจจุบัน
Copyright By
Chalengsak Chuaorrawan
Sainampeung School
186 Sukhumwit 22 Sukhumwit RD Khongteay Khongteay Bangkok Thailand
e-mail address : chalengsak.ch@hotmail.com
Tel; 089-200-7752 mobile
http://www.sainampeung.ac.th
http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak