หน้าแรก
โรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ ฯ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
สารบัญ

ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย     ลงในตาราง

ภูมิอากาศแบบ/ทวีป

เอเชีย

แอฟริกา

อเมริกาเหนือ

อเมริกาใต้

ยุโรป

ออสเตรเลีย

ร้อนชื้นฝนชุก

/

/

/

/

-

/

มรสุม

/

-

-

-

-

/

ทุ่งหญ้าเมืองร้อน

/

/

/

/

-

/

ทะเลทราย

/

/

/

/

-

/

กึ่งทะเลทราย

/

/

/

/

/

/

เมดิเตอร์เรเนียน

/

/

/

/

/

/

อบอุ่นชื้น

/

/

/

/

/

/

ภาคพื้นสมุทร

/

/

/

/

/

/

ภาคพื้นทวีป

/

-

/

/

/

-

ไทกา

/

-

/

-

/

-

ทุนดรา

/

-

/

-

/

-

ทุ่งน้ำแข็ง

-

-

/

-

-

-

เทือกเขาสูง

/

/

/

/

/

/

ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย     ลงในตาราง

สัญลักษณ์/ทวีป

เอเชีย

แอฟริกา

อเมริกาเหนือ

อเมริกาใต้

ยุโรป

ออสเตรเลีย

Af

/

/

/

/

-

/

Am

/

-

-

-

-

/

Aw

/

/

/

/

-

/

BW

/

/

/

/

-

/

BS

/

/

/

/

/

/

Cs

/

/

/

/

/

/

Cfa

/

/

/

/

/

/

Cfb

/

/

/

/

/

/

Cfc

/

/

/

/

/

-

Df

/

-

/

-

/

-

Dw

/

-

/

-

/

-

ET

/

-

/

-

/

-

EF

-

-

/

-

-

-

H

/

/

/

/

/

/

  1. ดร. วลาดิเมียร์ เคิปเปน Wladimir Köppen ใช้สัญลักษณ์อักษรภาษาอังกฤษ ตัวพิมพ์ใหญ่ แทนลักษณะภูมิอากาศดังนี้

    A  หมายถึง ภูมิอากาศเขตร้อน tropic climate  อุณหภูมิเฉลี่ยทุกเดือนสูงกว่า 18 องศาเซลเซียส ไม่มีฤดูหนาว ปริมาณน้ำฝนสูงกว่าการระเหย
    B  หมายถึง ภูมิอากาศเขตแห้งแล้ง dry climate   การระเหยมีมากกว่าความชื้นที่ได้รับ เป็นเขตที่ไม่มีต้นน้ำลำธาร
    C  หมายถึง ภูมิอากาศเขตอบอุ่น warm temperate climate  อุณหภูมิของเดือนที่หนาวที่สุดต่ำกว่า 18 องศาเซลเซียส แต่ไม่ต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส เป็นเขตที่มีทั้งฤดูร้อนและฤดูหนาว
    D  หมายถึง ภูมิอากาศเขตหิมะ snow climate  อุณหภูมิของเดือนที่หนาวที่สุดต่ำกว่า 3 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยของเดือนที่ร้อนที่สุดสูงกว่า 10  องศาเซลเซียส
    E  หมายถึง ภูมิอากาศเขตขั้วโลก  polar climate  อุณหภูมิของเดือนที่ร้อนที่สุดต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส  เป็นเขตที่ไม่มีฤดูร้อน
    H  หมายถึง ภูมิอากาศแบบที่สูง highland climate  ปรากฏได้ในทุกเขตตั้งแต่ละติจูดต่ำถึงละติจูดสูง ลักษณะอากาศเปลี่ยนแปลงตามความสูงของพื้นที่และที่ตั้งตามละติจูด
                ตัวอักษร ภาษาอังกฤษ ตัวพิมพ์ใหญ่ 5 ตัว A, B, C, D, E, เป็นตัวอักษรหลักในการกำหนดเขตภูมิอากาศและยังมีอักษรตัวที่สองและสามใช้แสดงปริมาณน้ำฝนและอุณหภูมิประจำลักษณะภูมิอากาศแต่ละประเภทได้แก่
    อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ 
    W  หมายถึง ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งเป็นทะเลทราย มีประมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 250 มิลลิเมตรต่อปี หรือ 10 นิ้วต่อปี
    S   หมายถึง ภูมิอากาศแบบกึ่งแห้งแล้งเป็นทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย มีประมาณน้ำฝนเฉลี่ยประมาณ 250 -500 มิลลิเมตรต่อปี หรือ 10-20 นิ้วต่อปี
    T  หมายถึง ภูมิอากาศแบบขั้วโลก ฤดูร้อนสั้น อุณหภูมิเฉลี่ยของเดือนที่อบอุ่นที่สุดสูงกว่า 0 องศาเซลเซียส แต่ต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส  อุณหภูมิเฉลี่ย ลบ 18 องศาเซลเซียส ต่อ ปี ปริมาณน้ำฝน 250 -500 มิลลิเมตรต่อปี หรือ 10-20 นิ้วต่อปี
    F  หมายถึง ภูมิอากาศแบบขั้วโลกเป็นทะเลทรายในเขตหนาวเย็น ปริมาณน้ำฝนน้อยมาก แต่การระเหยน้อยกว่าความชื้นที่ได้รับ ไม่มีเดือนใดอุณหภูมิสูงกว่า 0 องศาเซลเซียส

  2. ดร. วลาดิเมียร์ เคิปเปน Wladimir Köppen ใช้สัญลักษณ์อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก แทนลักษณะภูมิอากาศดังนี้
    f     หมายถึง      ลักษณะอากาศชื้นมีฝนตกตลอดทั้งปี ปริมาณฝนแต่ละเดือนไม่ต่ำกว่า 60 มิลลิเมตร
    w   หมายถึง      ลักษณะอากาศฝนไม่ตกในฤดูหนาว  ในฤดูหนาวอากาศแห้งแล้ง
    m   หมายถึง      ลักษณะอากาศมีปริมาณน้ำฝนมากเมื่อได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม มีฤดูแล้งสลับ 2-3 เดือนในหนึ่งปี
    s     หมายถึง     ลักษณะอากาศฝนไม่ตกในฤดูร้อน ในฤดูร้อนอากาศแห้งแล้ง
    a    หมายถึง      ลักษณะอากาศเดือนที่ร้อนที่สุดมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า 22 องศาเซลเซียสและอย่างน้อย 4 เดือนอุณหภูมิต้องสูงกว่า 10 องศาเซลเซียส
    b    หมายถึง      ลักษณะอากาศเดือนที่อบอุ่นที่สุดมีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำกว่า 22 องศาเซลเซียสและอย่างน้อย 4 เดือนอุณหภูมิต้องสูงกว่า 10 องศาเซลเซียส 
    c    หมายถึง      ลักษณะอากาศอุณหภูมิเฉลี่ยของเดือนที่หนาวที่สุดสูงกว่า -38 องศาเซลเซียส และใน 1 ปี มีเดือนทีมีอุณหภูมิสูงกว่า 10 องศาเซลเซียส น้อยกว่า  4 เดือน
    d    หมายถึง      ลักษณะอากาศอุณหภูมิเฉลี่ยของเดือนที่หนาวที่สุดต่ำกว่า -38 องศาเซลเซียส
    h   หมายถึง       ลักษณะอากาศที่มีค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิตลอดปีเท่ากับ 18 องศาเซลเซียส หรือสูงกว่า
    k   หมายถึง       ลักษณะอากาศที่มีค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิตลอดปีต่ำกว่า 18 องศาเซลเซียส
  3. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Af ในทวีปเอเชีย ได้แก่    เกาะบอร์เนียว ประเทศมาเลเซีย หมู่เกาะของประเทศอินโดนีเซีย
  4. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Af ในทวีปแอฟริกา ได้แก่    ที่ราบลุ่มแม่น้ำคองโก  ทางตะวันออกของเกาะมาดากัสการ์ ทางตอนใต้ของแอฟริกาตะวันตก
  5. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Af ในทวีปอเมริกาเหนือ ได้แก่    ชายฝั่งตะวันออกของอเมริกากลางและบางส่วนทางตอนเหนือของหมู่เกาะอินดีสตะวันตก
  6. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Af ในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่   ที่ราบลุ่มแม่น้ำแอมะซอน ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศบราซิล ทางตะวันตกเฉียงเหนือของโคลัมเบีย ในทวีปอเมริกาใต้
  7. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Af ในทวีปออสเตรเลีย ได้แก่   พื้นที่ตอนเหนือและบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐควีนสแลนด์ ของประเทศออสเตรเลีย
  8. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Aw ในทวีปเอเชีย ได้แก่   เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย ลาว เมียนมาร์ กัมพูชา เวียดนาม เอเชียใต้ อินเดีย  ศรีลังกา บังคลาเทศ ปากีสถาน.
  9. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Aw ในทวีปแอฟริกา ได้แก่    บริเวณที่อยู่ถัดจากเส้นศูนย์สูตรคืออยู่รอบๆป่าดงดิบ และทางตะวันตกของเกาะมาดากัสการ์
  10. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Aw ในทวีปอเมริกาเหนือ ได้แก่   ชายฝั่งตะวันตกของอเมริกากลาง ทางตอนใต้ของคาบสมุทรฟลอริดา และบางส่วนทางตตอนใต้ของหมู่เกาะอินดีสตะวันตก.
  11. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Aw ในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่   บริเวณทุ่งหญ้ายานอสสบนที่ราบลุ่มแมน้ำโอริโนโคในประเทศเวเนซุเอลา    บริเวณทุ่งหญ้าแกมปอส บนที่ราบสูงบราซิลในเขตประเทสบราซิล.
  12. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Aw ในทวีปออสเตรเลีย ได้แก่   บริเวณตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย คาบสมุทรยอร์กรัฐควีนส์แลนด์
  13. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  BWh ในทวีปเอเชีย ได้แก่  ทะเลทรายธาร์ ในเขตประเทศปากีสถาน    ทะเลทรายซาอุดิอาระเบีย
  14. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  BWh ในทวีปแอฟริกา ได้แก่
    ทะเลทรายสะฮารา
    ทะเลทรายนามิบ  
    ทะเลทรายกาลาฮารี
  15. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  BWh ในทวีปอเมริกาเหนือ ได้แก่   บริเวณภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกาในรัฐอะริโซนา รัฐเนวาดา และภาคเหนือของเม็กซิโก.
  16. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  BWh ในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่   ทะเลทรายอะตากามา ทางตอนใต้ของประเทศเปรูและทางตอนเหนือของประเทศชิลี
  17. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  BWh ในทวีปออสเตรเลีย ได้แก่   ทะเลทรายเกรตแซนดี  ทะเลทรายกิบสัน  ทะเลทรายเกรตวิกตอเรีย ในรัฐออสเตรเลียตะวันตก
  18. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  BWk ในทวีปเอเชีย ได้แก่   บริเวณทะเลทรายโกบี  ในเขตประเทศจีน ทะเลทรายในมองโกเลีย
  19. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  BSh ในทวีปอเมริกาเหนือ ได้แก่   บริเวณภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกาบางส่วนในแคนาดาและเม็กซิโกซี่งอยู่บริเวณรอบ ๆเขตทะเลทราย.
  20. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  BS ในทวีปยุโรป ได้แก่   ตอนกลางของคาบสมุทรไอบีเรีย ในเขตประเทศสเปน ทางตะวันตกของทะเลแคสเปียนทางตอนเหนือของทะเลดำ ในเขตประเทศสาธารณรัฐยูเครน  จอร์เจีย  อาร์เมเนีย  อาร์เซอร์ไบจัน
  21. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  BS ในทวีปออสเตรเลีย ได้แก่   ชายขอบของทะเลทรายในรัฐออสเตรเลียเหนือ ออสเตรเลียตะวันตก
  22. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Csa  Csb ในทวีปเอเชีย ได้แก่   บริเวณชายฝั่งของประเทศตุรกี เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล
  23. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Csa  Csb ในทวีปแอฟริกา ได้แก่   บริเวณชายฝั่งบาร์บารี ในเขตประเทศ โมร็อกโค แอลจีเรีย ตูนีเซีย  ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐอัฟริกาใต้แถบเมืองเคปทาวน์
  24. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Csa  Csb ในทวีปอเมริกาเหนือ ได้แก่   บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตอนกลางของรัฐแคลิฟอร์เนียประเทศสหรัฐอเมริกา
  25. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Csa  Csb ในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่    บริเวณตอนกลางของประเทศชิลี
  26. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Csa  Csb ในทวีปยุโรป ได้แก่   ตอนใต้ของทวีปยุโรป ได้แก่ประเทศโปรตุเกส สเปน ฝรั่งเศส อิตาลี อัลเบเนีย สาธารณรัฐเอเลนนิก โครเอเชีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
  27. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Csa  Csb ในทวีปออสเตรเลีย ได้แก่   บริเวณเมืองเพิร์ธ ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ ของรัฐออสเตรเลียตะวันตกและเมืองแอเดเลด ทางตอนใต้ของรัฐออสเตรเลียใต้
  28. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfa  Cwa ในทวีปเอเชียได้แก่   ทางภาคเหนือของประเทศอินเดียถึงตอนใต้ของจีน ภาคใต้ของคาบสมุทรเกาหลีและประเทศญีปุ่น
  29. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfa Cwa ในทวีปแอฟริกาได้แก่   ดินแดนทางภาคตะวันออกของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้   
  30.  บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfa Cwa ในทวีปอเมริกาเหนือได้แก่   บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำมิสซิสซิปปีและที่ราบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก
  31. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfa Cwa ในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่  บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปารานา - ปารากวัย - อุรุกวัย หรือ ที่ราบลุ่มแม่น้ำปารานา-ลาพลาตา หรือแม่น้ำริโอเดอลาพลาตา ที่ราบลุ่มแม่น้ำเพลต ทางตอนใต้ของปรเทศบราซิล อาร์เจนตินา อุรุกวัย ปารากวัย
  32. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfa Cwa ในทวีปยุโรป ได้แก่   ทางตอนใต้ของยุโรปตะวันออก ทางตอนเหนือของคาบสมุทรบอลข่าน ที่ราบลุ่มแม่น้ำดานูบได้แก่ประเทศโรมาเนีย บัลแกเรีย ฮังการี.
  33. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfa Cwa ในทวีปออสเตรเลียได้แก่   ทางตะวันออกเฉียงเหนือของนิวเซาท์เวลล์
  34. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfb   Cfc ในทวีปเอเชียได้แก่  ทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน.
  35. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfb   Cfc  ในทวีปแอฟริกาได้แก่   ทางตะวันออกเฉียงใต้ของสาธารณะรัฐแอฟริกาใต้ และภาคใต้ของโมซัมบิก
  36. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfb   Cfc ในทวีปอเมริกาเหนือได้แก่   ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ในมลรัฐบริติชโคลัมเบีย วอชิงตันและโอเรกอน.
  37. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfb   Cfc ในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่   บริเวณทางตอนใต้ของประเทศชิลี.
  38. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfb   Cfc ในทวีปยุโรป ได้แก่   ชายฝั่งตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรป ทางตอนใต้ของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ได้แก่ ตอนใต้ของนอรเวย์ สวีเดน เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส ทางตะวันตกของเยอรมัน
  39. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Cfb   Cfc ในทวีปออสเตรเลียได้แก่    พื้นที่ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ และตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะแทสเมเนีย
  40. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Dfa   Dwa ในทวีปเอเชียได้แก่   ทางตะวันออกเฉียงเหนือขงอประเทศจีน
  41. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Dfa   Dwa ในทวีปแอฟริกาได้แก่   ไม่ปรากฏในทวีปแอฟริกา 
  42.    บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Dfa   Dwa ในทวีปอเมริกาเหนือได้แก่ ที่ราบรอบทะเลสาบเกรตเลก
  43. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Dfa   Dwa ในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่  ไม่ปรากฏในทวีปอเมริกาใต้ 
  44. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Dfa   Dwa ในทวีปยุโรป ได้แก่    ตอนกลางของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในเขตประเทศนอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์ และ ภาคเหนือของรัสเซีย.
  45. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Dfc  Dwc   Dfd   Dwdในทวีปเอเชียได้แก่     บริเวณที่ราบไซบีเรียของรัสเซียในทวีปเอเชีย.
  46. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Dfc  Dwc   Dfd   Dwd ในทวีปแอฟริกาได้แก่     ไม่ปรากฏในทวีปแอฟริกา 
  47. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Dfc  Dwc   Dfd   Dwd ในทวีปอเมริกาเหนือได้แก่     รัฐอะลาสกา ของสหรัฐอเมริกา ทางตอนเหนือของแคนาดา    .
  48. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Dfc  Dwc   Dfd   Dwd ในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่     ไม่ปรากฏในทวีปอเมริกาใต้ 
  49. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  Dfc  Dwc   Dfd   Dwd ในทวีปยุโรป ได้แก่     ทางตอนเหนือของยุโรปตะวันออก ตอนเหนือของรัสซีย.
  50. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  ET ในทวีปอเมริกาเหนือได้แก่     บริเวณรอบๆเกาะกรีนแลนด์ ทางตอนเหนือของอลาสกา ประเทศสหรัฐตอนเหนือหมู่เกาะทางตอนเหนือของแคนาดา
  51. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  ET ในทวีปเอเชียได้แก่     ทางตอนเหนือในไซบีเรียของประเทศรัสเซียในทวีปเอเชีย    
  52. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  ET ในทวีปยุโรปได้แก่     บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกทางตอนเหนือของคาบสมุทรสแกนดิเนเวียและทางตอนเหนือของสหพันธรัฐรัสเซีย
  53. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  EF ในทวีปอเมริกาเหนือได้แก่    บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกของอลาสกา และ ตอนเหนือของแคนาดารวมทั้งตอนกลางของเกาะกรีนแลนด์
  54. บริเวณที่ปรากฏภูมิอากาศแบบ  H ได้แก่
    ทวีปเอเชีย   เทือกเขาหิมาลัย ที่ราบสูงทิเบต เทือกเขาฮินดูกูช เทือกเขาคุนลุน เทือกเขาสุไลมาน
    ทวีปอเมริกาเหนือ   เทือกเขาร็อกกี้  เทือกเขาอะลาสกา เทือกเขาแคสเคต เทือกเขาเซียร์รามาเดร เทือกเขายูคอร์น
    ทวีปอเมริกาใต้   เทือกเขาแอนดีส 
    ทวีปแอฟริกา  เทือกเขาคิริมานจาโร เทือกเขา แอตลาต
    ทวีปออสเตรเลีย เทือกเขาเกรตดิไวดิง ในออสเตรเลีย เทือกเขาแอลป์ใต้ของเกาะใต้ประเทศนิวซีแลนด์
    ทวีปยุโรป           เทือกเขาแอลป์ เทือกเขาคาร์เปเธียน เทือกเขาพีเรนีส แอปเพนไนน
 
 

Copyright By : Chalengsak Chuaorrawan Sainampeung School
186 Sukhumwit 22 Sukhumwit RD Khlongtoei Khlongtoei Bangkok Thailand
e-mail address : chalengsak.ch@hotmail.com
Tel; 089-200-7752 mobile
http://www.sainampeung.ac.th