เหตุใดเราจึงมองเห็นดวงจันทร์ได้
- ดวงจันทร์สะท้อนแสงอาทิตย์มายังโลก
- โลกสะท้อนแสงอาทิตย์ไปยังดวงจันทร์
- ดวงจันทร์มีแสงสว่างในเวลากลางคืน
- ดวงจันทร์มีขนาดใหญ่มาก
ข้อใดแสดงตำแหน่งความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้
- โลก– ดวงอาทิตย์ –ดวงจันทร์
- ดวงอาทิตย์ – ดวงจันทร์ – โลก
- ดวงอาทิตย์ – โลก– ดวงจันทร์
- โลก–ดวงจันทร์– ดวงอาทิตย์
ข้อใดแสดงตำแหน่งของดวงดาวได้ถูกต้องในการเกิดจันทรุปราคา
- ดวงอาทิตย์ – โลก– ดวงจันทร์
- ดวงจันทร์ – ดวงอาทิตย์ –โลก
- ดวงอาทิตย์ – ดวงจันทร์ – โลก
- โลก – ดวงอาทิตย์ – ดวงจันทร์
ข้อใดแสดงตำแหน่งของดวงดาวได้ถูกต้องในการเกิดสุริยุปราคา
- ดวงอาทิตย์ – ดวงจันทร์ – โลก
- โลก – ดวงอาทิตย์ – ดวงจันทร์
- ดวงจันทร์ – ดวงอาทิตย์ –โลก
- ดวงอาทิตย์– โลก – ดวงจันทร์
การที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลกทำให้เกิดปรากฏการณ์ใด
- ข้างขึ้นข้างแรม
- ฤดูกาล
- กลางวันกลางคืน
- ลมบกลมทะเล
ข้อใดต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับดวงจันทร์น้อยที่สุด
- กลางวัน-กลางคืน
- ข้างขึ้น-ข้างแรม
- สุริยุปราคา-จันทรุปราคา
- น้ำขึ้น-น้ำลง
ข้อใดแสดงตำแหน่งของดวงดาวได้ถูกต้องในการเกิดสุริยุปราคา
- ดวงอาทิตย์ – ดวงจันทร์ – โลก
- ดวงจันทร์ – ดวงอาทิตย์ –โลก
- ดวงจันทร์ – ดวงอาทิตย์ –โลก
- โลก – ดวงอาทิตย์ – ดวงจันทร์
เหตุใดเราจึงเห็นดวงจันทร์เพียงด้านเดียว
- ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบเท่ากับโคจรรอบโลกหนึ่งรอบ
- เราเห็นดวงจันทร์เฉพาะตอนกลางคืน
- ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก
- ดวงจันทร์ไม่หมุนรอบตัวเอง
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลา 1 วัน
- เรามองเห็นดวงจันทร์สว่างเต็มดวงในวันขึ้น 15 ค่ำ
- ดวงจันทร์สว่างเพราะได้รับแสงจากดวงอาทิตย์เหมือนกับโลก
- เรามองเห็นดวงจันทร์เพียงด้านเดียวเท่านั้น
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- เราเห็นดวงจันทร์เฉพาะตอนกลางคืนเท่านั้น
- เรามองเห็นดวงจันทร์เคลื่อนที่จากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก
- ดวงจันทร์จะแหว่งทางทิศตะวันออกเมื่อเป็นข้างขึ้น
- ชาวบ้านบอกว่าเดือนคว่ำก็เพราะเป็นข้างแรม
ข้อใดน่าจะเกิดจันทรุปราคาได้มากที่สุด
- ข้างขึ้น 14 - 15 ค่ำ
- ข้างแรม 7 - 8 ค่ำ
- ข้างขึ้น 7 - 8 ค่ำ
- ข้างแรม 14 - 15 ค่ำ
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ
- สุริยุปราคาจะเกิดในเวลากลางวัน ช่วงวันแรม 15 ค่ำ
- จันทรุปราคาจะเกิดในเวลากกลางวัน ช่วงวันขึ้น 15 ค่ำ
- สุริยุปราคาจะเกิดในเวลากลางคืน ช่วงวันขึ้น 15 ค่ำ
- จันทรุปราคาจะเกิดในเวลากกลางคืน ช่วงวันแรม 15 ค่ำ
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- น้ำตายเป็นปรากฏการณ์น้ำขึ้นสูงสุดอันเนื่องจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเดียวกันจะเกิดในช่วงวันขึ้น 14-15 ค่ำ
- น้ำเกิดเป็นปรากฏการณ์น้ำขึ้นสูงสุดอันเนื่องจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเดียวกันจะเกิดในช่วงวันแรม 14-15 ค่ำ
- จันทรุปราคาเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในเวลากลางคืนอันเนื่องจากดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในแนวเดียวกันจะเกิดในช่วงวันขึ้น 14-15 ค่ำและวันแรม 1 ค่ำ
- สุริยุปราคาเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในเวลากลางวันอันเนื่องจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเดียวกันจะเกิดในช่วงวันแรม 14-15 ค่ำและวันขึ้น 1 ค่ำ
ถ้าวันนี้เป็นแรม 5 ค่ำ ปรากฏการณ์ใดต่อไปนี้จะเกิดขึ้น
- ดวงจันทร์จะแหว่งทางทิศตะวันตก
- ดวงจันทร์จะแหว่งทางทิศตะวันออก
- จะเป็นเดือนหงายเพราะเป็นข้างแรม
- จะเป็นเดือนคว่ำเพราะเป็นข้างขึ้น
ถ้าวันนี้เป็นวันเพ็ญเดือน 12 จะเกิดปรากฏการณ์ตามข้อใด
- เราจะเห็นดวงจันทร์เต็มดวงลอยขึ้นจากท้องฟ้าทางทิศตะวันออก
- เราจะเห็นดวงจันทร์เต็มดวงลอยขึ้นจากท้องฟ้าทางทิศตะวันตก
- เราจะเห็นดวงจันทร์เป็นเสี้ยวแล้วค่อยสว่างเต็มดวงในเวลาเที่ยงคืน
- เราจะเห็นดวงจันทร์สว่างเต็มดวงแล้วค่อยๆแหว่งหายไปจนไม่เห็นดวงจันทร์
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
- ดวงจันทร์จะเคลื่อนจากทิศจะวันออกไปทางทิศตะวันตก
- บางวันเราจะเห็นดวงจันทร์ขึ้นทางทิศตะวันตกแล้วไปตกทางทิศตะวันออก
- เราจะเห็นดวงจันทร์แหว่งทางทิศตะวันออกเสมอในเวลากลางคืน
- ถ้าเราเห็นดวงจันทร์ในเวลากลางวันดวงจันทร์จะแหว่งทางทิศตะวันออก
วันเดือนดับ ตรงกับวันใด
- วันแรม 15 ค่ำ
- วันแรม 8 ค่ำ
- วันขึ้น 15 ค่ำ
- วันขึ้น 8 ค่ำ
เดือนใดน่าจะปรากฏวันแรม 15 ค่ำ ได้มากที่สุด
- เดือนยี่
- เดือนสิบเอ็ด
- เดือนอ้าย
- เดือนเก้า
เดือนใดน่าจะปรากฏวันแรม 15 ค่ำ ได้มากที่สุด
- เดือนเจ็ด
- เดือนห้า
- เดือนสาม
- เดือนอ้าย
ถ้าวันนี้เป็นวันพระกลางเดือนวันพระครั้งต่อไปจะตรงกับข้อใด
- วันแรม 8 ค่ำ
- วันแรม 15 ค่ำ
- วันขึ้น 8 ค่ำ
- วันขึ้น 15 ค่ำ
การเกิดข้างขึ้นข้างแรมหนึ่งรอบใช้เวลานานเท่าไร
- 29 วัน
- 1 สัปดาห์
- 1 ปี
- 24 ชั่วโมง
วันนี้เกิดปรากฏการณ์น้ำตายอีกกี่วันจะเกิดปรากฏการณ์อย่างนี้อีก
- 15 วัน
- 29 วัน
- 7 วัน
- 365 วัน
ถ้าวันนี้เกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคาเหตุการณ์ในข้อใดเป็นจริง
- จะเกิดปรากฏการณ์น้ำเกิด
- จะเกิดปรากฏการณ์น้ำตาย
- จะเกิดปรากฏการณ์น้ำลงต่ำสุด
- จะเกิดปรากฏการณ์น้ำขึ้นน้อยมาก
ถ้าวันนี้เกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคาเหตุการณ์ในข้อใดน่าจะเป็นจริง
- จะเกิดปรากฏการณ์น้ำเกิด
- จะเกิดปรากฏการณ์น้ำตาย
- เป็นวันแรม 8 ค่ำ
- เป็นวันขึ้น 15 ค่ำ
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- น้ำจะขึ้นในช่วงเดือนหงายหรือข้างขึ้น
- น้ำทะเลจะ ขึ้น 2 ครั้งและ ลง 2 ครั้ง ต่อวัน
- น้ำทะเลจะขึ้นช้าลงวันละ 50 นาที
- น้ำขึ้นน้ำลงเกิดจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- น้ำขึ้น-น้ำลงจะเกิด 2 ครั้งต่อเดือน ในวันแรม 8 ค่ำและวันขึ้น 15 ค่ำ
- น้ำตาย มี 2 ครั้งต่อเดือน ตรงกับ วันขึ้น 8 ค่ำและวันแรม 8 ค่ำ
- น้ำขึ้น-น้ำลงจะเกิดช้าลงวันละ 50 นาที
- น้ำเกิด มี 2 ครั้งต่อเดือน ตรงกับเดือนเพ็ญและเดือนดับ
วันที่ 12 ตรงกับวันแรม 4 ค่ำ วันที่เท่าไรจะเกิดน้ำตายอีก
- วันที่ 16
- วันที่ 23
- วันที่ 17
- วันที่ 26
ถ้าขณะนี้นักเรียนอายุ 16ปี ระยะเวลา 1 ปีจะเกิดน้ำขึ้นกี่ครั้ง เมื่อนักเรียนอายุ 26 ปี จะเกิดปรากฏการน้ำขึ้นทั้งหมดรวมกี่ครั้ง
- 24 ครั้ง / 240 ครั้ง
- 16 ครั้ง / 160 ครั้ง
- 12 ครั้ง / 120 ครั้ง
- 365 ครั้ง / 3652ครั้ง
โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลานานเท่าไร
- 1 ปี
- 1 เดือน
- 1 วัน
- 1 สัปดาห์
โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ในระบบสุริยะคติใช้เวลานานเท่าไร
- 365 วัน 6 ชั่วโมง
- 29-30 วัน
- 7 สัปดาห์
- 24 ชั่วโมง
โดยปกติ 1 ปีทางสุริยะคติจะมี 365 วัน ในปีใดมี 366 วัน เราเรียกปีนั้นว่าอะไร
- ปีอธิกสุรทิน
- ปีอธิกมาส
- ปีอธิกวาร
- ปีอธิกศก
ปีใดต่อไปนี้จะมี 366 วัน
- พ.ศ. 2563
- พ.ศ. 2564
- พ.ศ. 2565
- พ.ศ. 2566
ปีใดต่อไปนี้เดือนกุมภาพันธ์จะมี 29 วัน
- ค.ศ. 2020
- ค.ศ. 2021
- ค.ศ. 2022
- ค.ศ. 2023
กลางวันจะมีระยะเวลาเท่ากับกลางคืนตรงกับข้อใด
- ดวงอาทิตย์ส่องตั้งฉากบริเวณเส้นศูนย์สูตร
- ดวงอาทิตย์ส่องตั้งฉากบริเวณเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์
- ดวงอาทิตย์ส่องตั้งฉากบริเวณเส้นทรอปิกออฟแคบริคอร์น
- ดวงอาทิตย์ส่องตั้งฉากบริเวณเส้นอาร์กติเซอร์เคิล
ตำแหน่งที่โลกของเรามีระยะเวลากลางวันเท่ากับกลางคืนเรียกว่าอะไร
- วันวิษุวัต
- ดวงอาทิตย์ส่องตั้งฉากบริเวณเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์
- ดวงอาทิตย์ส่องตั้งฉากบริเวณเส้นทรอปิกออฟแคบริคอร์น
- ดวงอาทิตย์ส่องตั้งฉากบริเวณเส้นอาร์กติเซอร์เคิล
วันเริ่มต้นฤดูใบไม้ผลิของเขตอบอุ่นในซีกโลกใต้เรียกว่าอะไร
- วสันตวิษุวัติ
- ศารทวิษุวัติ
- อุตรายัน
- ทักษิณายัน
วันเริ่มต้นฤดูร้อนของเขตอบอุ่นในซีกโลกเหนือดวงอาทิตย์จะส่องตั้งฉากบริเวณใด
- เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์
- เส้นทรอปิกออฟแคบริคอร์น
- เส้นศูนย์สูตร
- เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล
วันเริ่มต้นฤดูใบไม้ร่วงของเขตอบอุ่นในซีกโลกใต้จะตรงกับวันใด
- 21 มีนาคม
- 21 มิถุนายน
- 22 กันยายน
- 22 ธันวาคม
วันเริ่มต้นฤดูร้อนของเขตอบอุ่นในซีกโลกเหนือเรียกว่าวันอะไร
- ครีษมายัน
- เหมายัน
- วสันวิษุวัติ
- ศารทวิษุวัติ
พหุสงกรานต์เหนือperihelionเป็นตำแหน่งที่โลกอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด ณ เวลาใด
- 3 มกราคม
- 4 กรกฏาคม
- 21 มิถุนายน
- 22 ธันวาคม